The Greatest Guide To สังคมผู้สูงอายุ
The Greatest Guide To สังคมผู้สูงอายุ
Blog Article
“เพศแม่คือบุคคลสำคัญในนโยบายนี้ จากทัศนะเดิม ถ้าผู้หญิงคิดจะมีลูกสักคนก็ต้องตริตรองเพื่อเลือกระหว่างการมีบุตร แลกกับการถูกตัดขาดจากตลาดแรงงาน เนื่องจากสังคมยังคาดหวังให้ผู้หญิงรับผิดชอบงานบ้านและงานเลี้ยงดูบุตร ดังนั้น หากเราเชื่อว่าการมีบุตรจะช่วยให้พ่อแม่ในวัยเกษียณมีความสุข รัฐไทยก็ต้องปรับทัศนะ เน้นการให้โอกาสทั้งหญิงและชายในตลาดแรงงานอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะทั้งสองฝ่ายต้องทำงานและช่วยเหลือกันระหว่างการเลี้ยงดูบุตร เพื่อคุณภาพชีวิตในบั้นปลาย” รศ.ดร.นพพล กล่าว
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)
“ในประเทศไทย เราไม่มีกระบวนการช่วยเหลือผู้สูงอายุในทางอื่นมากนัก การมีลูกจึงเท่ากับการมีหลักประกันของคุณภาพชีวิตในยามสูงวัย ในด้านรายได้ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้ทำงานแล้วและมีลูกก็ยังมีลูกให้พึ่งพาได้ ในด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุที่มีลูกก็อาจมีสุขภาพดีกว่าคนไม่มี เพราะมีคนคอยดูแล และพาไปโรงพยาบาล และสุดท้าย ในด้านสังคม การมีลูกยังทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกยังมีส่วนร่วมในสังคม ทำให้รู้จักเพื่อนบ้านที่มีลูกเล่นด้วยกันหรือครอบครัวของเพื่อนลูก การมีลูกจึงเป็นปัจจัยสำคัญของความสุข ผิดกับโลกตะวันตกที่ผู้สูงอายุยังพอมีรายได้ พอดูแลตัวเองได้ หรือไม่ก็ได้รับสวัสดิการรัฐโดยไม่ต้องพึ่งบุตรหลาน การมีหรือไม่มีลูกจึงไม่ใช่เงื่อนไขของความสุขในชีวิต” รศ.
“อายิโนะโมะโต๊ะ”เปลี่ยนผ่านธุรกิจสู่สังคมผู้บริโภคอย่างยั่งยืน ลุยอาหาร-ผลิตภัณฑ์สุขภาพ-จัดการขยะอาหาร
แหล่งที่มาของงบประมาณเพื่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดียามชราภาพยังมีความไม่ชัดเจน โดยการหาแหล่งที่มาของเงินคงเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องใช้ทั้งภาษีอากร (เน้นผู้สูงอายุในปัจจุบัน) และใช้การมีส่วนร่วมจ่ายของประชาชน (เน้นประชากรวัยทำงานในปัจจุบันที่ยังมีเวลาสร้างอนาคต) ข้อเสนอส่วนใหญ่ในปัจจุบันให้น้ำหนักไปที่ “การให้มีบำนาญเพื่อผู้สูงอายุในปัจจุบันโดยรัฐจัดสรร” แต่ไม่ควรลืมว่า สังคมไทยยังมีผู้สูงอายุในอนาคตอีกด้วย สังคมไทยต้องแสวงหาทางออกเพื่อ “ก้าวข้ามความขัดแย้งระหว่างรุ่น” โดยการประนีประนอมเชิงนโยบายระหว่างการสร้างหลักประกันยามชราภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุในปัจจุบันที่เน้นวิธีการแบบรัฐจัดสรรกับการผลักดันให้เกิดระบบบำนาญฯ แบบมีส่วนร่วมเพื่อเป็นหลักประกันที่มั่นคงให้กับผู้สูงอายุในอนาคต
ผู้สูงอายุใน อ.วารินชำราบ ต้องเสี่ยงชีวิตจากการอาศัยในบ้านที่ทรุดโทรม เมื่อไม่มีทางเลือกพวกเขาก็ต้องจำใจอยู่อย่างเดียวดาย แต่สังคมที่มีคุณภาพ จะไม่ปล่อยให้ผู้สูงอายุต้องอยู่โดดเดี่ยว จึงเป็นที่มาของอาสาสมัคร “ช่างชุมชน” กลุ่มช่างที่มาด้วยใจ เพื่อเปลี่ยนบ้านให้เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยโดยใช้ทุนของชุมชน
ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มผู้สูงอายุในไทยเป็นกลุ่มคนที่มีกำลังซื้อ สังคมผู้สูงอายุ มีอำนาจทางการเงิน และมีอิทธิพลต่อคนในครอบครัว เป็นโอกาสของธุรกิจไทยในการนำเสนอสินค้าและบริการให้ตรงตามความต้องการของประชากรกลุ่มนี้ โดยเฉพาะสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตและสุขภาพ
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อย่างที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แต่ใช่ว่าผู้สูงอายุของไทยเมื่ออายุมากขึ้นจะไม่สามารถทำงานได้ ในความเป็นจริงผู้สูงอายุหลายคนยังมีศัยกภาพเพียงพอที่จะทำงานต่อไปแม้จะเลยวัยเกษียณอายุแล้วก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ยังต้องการความเชี่ยวชาญและความชำนาญของคนกลุ่มนี้อยู่ ในมุมของผู้ประกอบการมองกว่าคนกลุ่มนี้พร้อมที่จะทำงานต่อเนื่องเพราะรู้และเข้าใจในวัฒนธรรมและระบบขององค์กรเป็นอย่างดี
"แวว สายสุนีย์" เฉือนชนะจีน คว้าเหรียญทอง วีลแชร์ฟันดาบ
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
งานบริหารทรัพยากรบุคคลและบริหารทั่วไป
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)